ไอเอสโอร่วมต่อสู้กับมหันตภัยภาวะโลกร้อน

ในมุมมองของชีลา เล็กเก็ตต์ ไอเอสโอมีมาตรฐานทั้งหมดที่จำเป็นในการสนับสนุนวาระสภาพภูมิอากาศอยู่แล้ว แต่ความท้าทายที่แท้จริงคือหาวิธีจัดกลุ่มมาตรฐานที่ส่งเสริมให้มีการใช้งานได้อย่างเหมาะสม ซึ่งยังมีร่างมาตรฐานใหม่ในสาขานี้ที่ต้องทำทั้งหมดอีกจำนวนหนึ่งด้วย

“IWA 42” เครื่องมือลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์

เพื่อสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ซึ่งจะช่วยให้สามารถหลีกเลี่ยงหายนะจากสภาพภูมิอากาศได้ ไอเอสโอจึงได้จัดทำแนวทาง Net Zero หรือข้อตกลงหลักเกณฑ์สุทธิเป็นศูนย์ (IWA 42, Net zero guidelines) เพื่อเป็นเครื่องมือหรือแนวทางที่ผู้มีส่วนได้เสียสามารถนำไปใช้จัดการกับอุปสรรคสำคัญในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ลดลงเหลือน้อยที่สุดและสมดุล

พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสกับ Net Zero

ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ หรือภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก คือปัญหาระดับโลกที่มีการกล่าวถึงผลกระทบในด้านต่างๆ มานานหลายปี นอกจากการแก้ปัญหานี้ในระดับบุคคลด้วยการลดใช้ทรัพยากร หรือหมุนเวียนทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแล้ว สิ่งสำคัญคือองค์กรขนาดใหญ่ ภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ภาคการขนส่ง ภาคเกษตรกรรม ต่างก็มีส่วนสำคัญในการสร้างผลกระทบดังกล่าว ดังนั้น ทุกองค์กรจึงจำเป็นต้องร่วมมือกันปรับเปลี่ยนการทำงาน ให้สอดคล้องกับเป้าหมายในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้มากที่สุด

ไอเอสโอกับมาตรฐานเพื่อรับมือกับสภาพภูมิอากาศ

วอลเตอร์ คอล์เลนบอร์น ที่ปรึกษาด้านสภาพภูมิอากาศของบริษัท อเดลฟีฯ (adelphi) และผู้ประสานงานของคณะทำงานที่พัฒนามาตรฐาน ISO14091 อธิบายว่า การทำความเข้าใจความแตกต่างระหว่างการดำเนินการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับสิ่งที่ยังไม่ได้ดำเนินการหรือ gap ขององค์กรเป็นส่วนสำคัญของการปรับตัว ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้คณะทำงานจัดหาเครื่องมือเพื่อนำมาพิจารณาในการพัฒนามาตรฐานดังกล่าว

แนะนำรัฐและชุมชนใช้ ISO/TS 14092 สู้ภาวะโลกร้อน

มาตรฐาน ISO/TS 14092 ยอมรับว่าผลกระทบซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีความแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละภูมิภาคและมีผลกระทบโดยตรงต่อรัฐบาลท้องถิ่น รวมถึงบริการสาธารณะต่างๆ ตลอดจนความมั่นคงปลอดภัยของรัฐบาล ดังนั้น เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของท้องถิ่นและรัฐบาล ไอเอสโอจึงได้พัฒนามาตรฐานดังกล่าวขึ้นมาเพื่อช่วยให้พวกเขาสามารถปรับตัวให้เข้าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยมีพื้นฐานอยู่บนเรื่องของผลกระทบต่อระบบนิเวศ สังคม และเศรษฐกิจ และการประเมินความเสี่ยง

พลิกวิกฤตโลกร้อนเป็นโอกาสทางธุรกิจ

อนาคตโลกของเราขึ้นอยู่กับความพยายามในการจำกัดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการจัดการปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งมาตรฐานสากลที่กล่าวมาข้างต้นจะช่วยให้องค์กรสามารถจัดลำดับความสำคัญและพัฒนาการปรับตัวให้เข้ากับความท้าทายด้านปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได้ จึงนับว่าเป็นการพลิกวิกฤตโลกร้อนให้เป็นโอกาสทางธุรกิจได้เป็นอย่างดี

โลกกำลังก้าวสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ด้วย “การเงินที่ยั่งยืน”

การปรับตัวให้สามารถตอบสนองการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกนั้น จำเป็นต้องมีการลงทุนที่มีนัยสำคัญพอสมควร กล่าวคือ ภายในปี 2573 (ค.ศ.2030) ควรมีการลงทุนประมาณ 90 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อโครงสร้างพื้นฐานที่จะรองรับการแก้ไขปัญหาดังกล่าว แม้ว่าจะมีการลงทุนโครงการสีเขียวและการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับความยั่งยืนไปแล้ว แต่โลกของเรายังจำเป็นต้องมีการลงทุนเพื่อความยั่งยืนเพิ่มขึ้นอีกเพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้

โลกต้องเร่งหยุดภาวะโลกร้อนเพื่อรักษาแนวปะการัง

ความเป็นผู้นำที่มีประสิทธิผลนั้นไม่เพียงแต่จะมาจากประสบการณ์ การสังเกต และการเรียนรู้ขององค์กรเท่านั้น แต่เป็นต้องมีวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ และสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้บุคลากรสามารถนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติให้ประสบความสำเร็จได้ด้วย

ISO 38200 ช่วยสอบกลับแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์จากไม้

ISO 37101 เป็นส่วนหนึ่งของชุดมาตรฐานที่อุทิศให้กับเมืองที่ต้องการพิสูจน์อนาคตที่ต้องการความยั่งยืนและยืดหยุ่น ซึ่งมาตรฐานนี้มีส่วนทำให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ ในข้อที่ 11 คือเมืองและชุมชนที่มีความยั่งยืน ซึ่งต้องการทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของ “วันสากลแห่งเมือง” ในปีนี้ด้วย

แบรนด์โรงแรม “ฮิลตัน” พร้อมก้าวสู่ SDGs

สำหรับไอเอสโอ มีมาตรฐานสากลในภาคส่วนการผลิตอาหารมากกว่า 1600 มาตรฐานที่ช่วยให้สามารถยุติความหิวโหยของโลกได้ด้วยการสร้างความมั่นใจในผลิตภัณฑ์อาหาร ปรับปรุงวิธีการด้านเกษตรกรรม และส่งเสริมการจัดซื้ออย่างมีจริยธรรมและยั่งยืน ซึ่งรวมถึงมาตรฐานอีกประมาณ 850 มาตรฐานจากคณะกรรมการวิชาการ ISO/TC 34 – Food products ซึ่งครอบคลุมทุกเรือ่งนับตั้งแต่สวัสดิภาพสัตว์ไปจนถึงผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ธัญพืชและนม และการทดสอบส่วนผสม เป็นต้น