ไอเอสโอพัฒนามาตรฐาน EnMS สำหรับองค์กรหลายสาขา

มาตรฐาน ISO 50009, Energy management systems – Guidance for implementing a common energy management system in multiple organizations มีเป้าหมายในการรวมองค์กรที่มีองค์ประกอบร่วมบางอย่างเข้าด้วยกัน เช่น ซัพพลายเออร์ด้านพลังงาน หรือ สถานที่ทำงาน เป็นต้น เพื่อใช้ประโยชน์สูงสุดจากพลังงานร่วมกัน

แนวทางการจัดการน้ำขององค์กรตามแนวทางสากล เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

เพื่อเป็นการสนับสนุนแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน องค์กรควรพิจารณาขยายขอบเขตความรับผิดชอบ โดยพิจารณาให้ครอบคลุมการลดผลกระทบจากการดำเนินงานตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่า โดยใช้แนวทางการประเมินรอยเท้าน้ำ (Water Footprint) หรือนำหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ซี่งเป็นกรอบแนวทางการใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด มาประยุกต์ใช้ในรูปแบบการจัดการน้ำแบบหมุนเวียน (Circular water management)

ความหลากหลายทางชีวภาพกับวันสิ่งแวดล้อมโลก 2563

วันสิ่งแวดล้อมโลกในปีนี้ มีการรณรงค์ในหัวข้อความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งองค์การสหประชาชาติได้เรียกร้องให้ทั่วโลกร่วมต่อสู้เพื่อลดความสูญเสียของพืชพันธุ์และสัตว์ต่างๆ ที่มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเพราะกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากมนุษย์

ปัจจัยความสำเร็จเพื่อการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน

ปัจจุบัน สถานการณ์วิกฤตน้ำทั่วโลกส่งผลให้บางประเทศมีน้ำใช้ลดลง ไม่สามารถเข้าถึงน้ำสะอาดได้ หรือประสบปัญหามลพิษทางน้ำหรือแหล่งน้ำเสีย ภาครัฐและภาคเอกชนรวมทั้งองค์กรต่าง ๆ ทั่วโลกจึงปรับตัวและเตรียมรับมือกับปัญหาดังกล่าว โดยนำวิธีการบริหารจัดการน้ำเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานในองค์กร เพื่อให้องค์กรอยู่รอดได้เมื่อเผชิญกับภาวะวิกฤตน้ำ

ทำไมต้องจัดซื้ออย่างยั่งยืน

มาตรฐานอาหารที่ไอเอสโอพัฒนาขึ้นมานั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิภาพของอุตสาหกรรมอาหาร รวมทั้งภาคการเกษตรด้วย ทำให้ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากแนวทางและวิธีปฏิบัติของมาตรฐานไอเอสโอนับตั้งแต่การเพาะปลูก ไปจนถึงการผลิตและการบรรจุหีบห่อหรือบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการตอบสนองต่อกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ และทำให้เกิดความปลอดภัยและความยั่งยืน ซึ่งสามารถตอบสนองการแก้ไขปัญหาของโลกในด้านโภชนาการและการยุติความหิวโหยได้

พลิกวิกฤตโลกร้อนเป็นโอกาสทางธุรกิจ

อนาคตโลกของเราขึ้นอยู่กับความพยายามในการจำกัดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการจัดการปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งมาตรฐานสากลที่กล่าวมาข้างต้นจะช่วยให้องค์กรสามารถจัดลำดับความสำคัญและพัฒนาการปรับตัวให้เข้ากับความท้าทายด้านปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได้ จึงนับว่าเป็นการพลิกวิกฤตโลกร้อนให้เป็นโอกาสทางธุรกิจได้เป็นอย่างดี

ไอเอสโอพัฒนามาตรฐานเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน

คณะกรรมการ ISO/TC 323, Circular economy มีเป้าหมายที่จะเปิดเผยทุกแง่มุมของเศรษฐกิจหมุนเวียนรวมทั้งการจัดซื้อภาครัฐ การผลิต การกระจาย และตลอดทั้งช่วงชีวิตรวมทั้งในเรื่องที่กว้างขึ้น เช่น การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนสังคม และการประเมิน เช่น ฟุตพริ้นท์ของระบบหมุนเวียนหรือดัชนีชี้วัด เป็นต้น

คำถามเพื่อการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ตอนที่ 2

มีคำถามสำหรับบริษัทและนักลงทุนว่าจะสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goal: SDG) ภายในปี 2573 (ค.ศ.2030) ทั้ง 17 ข้อได้อย่างไร และอะไรคือสิ่งที่ใกล้เคียงที่สุดกับกลยุทธ์ขององค์กรในเรื่องดังกล่าว

คำถามเพื่อการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ตอนที่ 1

มีคำถามสำหรับบริษัทและนักลงทุนว่าจะสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goal: SDG) ภายในปี 2573 (ค.ศ.2030) ทั้ง 17 ข้อได้อย่างไร และอะไรคือสิ่งที่ใกล้เคียงที่สุดกับกลยุทธ์ขององค์กรในเรื่องดังกล่าว

จัดซื้อให้ยั่งยืนอย่างไรในระยะยาว

MASCI Innoversity เคยนำเสนอเรื่อง “มาตรฐานการจัดซื้ออย่างยั่งยืน” เมื่อเร็วๆ นี้มาแล้ว แต่ในทางปฏิบัติ ผู้จัดซื้อจำนวนไม่น้อยยังคงเผชิญปัญหากับ “การจัดซื้ออย่างยั่งยืน” แม้ว่าผู้บริหารจะประกาศนโยบายให้มีการจัดซื้อจากซัพพลายเออร์ที่คำนึงถึงความยั่งยืนและใช้แนวทางตามมาตรฐาน ISO 20400 แล้วก็ตาม แต่ผู้จัดซื้อก็ยังพบว่ามีความยากลำบากในการหาซัพพลายเออร์ดังกล่าว